การอ่านตีความ
การอ่านตีความ หมายถึง การอ่านเพื่อให้เข้าใจความหมาย ความคิดสำคัญของเรื่อง ความรู้สึก และอารมณ์สะเทือนใจจากบทประพันธ์ ซึ่งอาจเข้าใจได้มากน้อยลึกซึ้งเพียงใด ตรงกันกับผู้ประพันธ์หรือไม่ หรือผู้อ่านคนอื่น ๆ หรือไม่ ขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์เดิมและความรู้สึกของผู้อ่านแต่ละคน การตีความของทุกคนอาจไม่ตร อ่านเพิ่มเติมวันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559
หลักการเขียนบรรณานุกรม
การอ้างอิงทางบรรณานุกรม หมายถึง รายการเอกสาร สิ่งพิมพ์ หรือสื่ออื่นใด ที่ผู้ผลิตผลงานทางวิชาการใช้อ้างอิงในเอกสารผลงานของตน การแสดงรายการทางบรรณานุกรมไว้ที่ผลงานของท่านจึงนับเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ อีกทั้งยังมีประโยชน์ในการแสดงที่มาที่ไปขององค์ความรู้ในเรื่องนั้นๆ ทำให้ผู้สนใจสามารถติดตามพัฒนาการของเรื่องนั้ อ่านเพิ่มเติม
มารยาทในการพูด
มารยาทในการพูด มนุษย์จำเป็นต้องมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกให้ผู้อื่นรับรู้ ทักษะหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสาร คือ การพูด ซึ่งมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิต และสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน จึงจำเป็นต้องอาศัยจรรยามารยาท และคุณธรรมในการพูด การพูดโดยมีจรรยามาร อ่านเพิ่มเติม
มารยาทในการใช้สมุด
ห้องสมุดแต่ละแห่งจะมีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน ผู้ใช้บริการจึงควรคำนึงถึงมารยาทและมีคุณธรรมดังนี้
1. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
2. ถอดรองเท้าและวางกระเป๋าไว้ที่ชั้นฝากกระเป๋า
3. ไม่เล่น พูดคุยส่งเสียงดัง หรือวิ่งเล่นรบกวนสมาธิคนอื่น
4. ไม่นำอาหาร ขนม น้ำดื่ม เข้าม อ่านเพิ่มเติม
มารยาทในการอ่าน
การอ่านเป็นการรับข้อมูลข่าวสาร โดยการใช้สายตาอ่านตัวหนังสือจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
มารยาทในการอ่าน
- มีสมาธิในการอ่าน อ่านอย่างตั้งใจ
- อ่านในใจ ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อื่น
- นั่งอ่านในท่าทางสบาย ตัวตรง สุภาพ
- หยิบจับหนังสืออย่างเบามือ
- ไม่ใช้ดินสอ ปากกา หรือสีต่างๆ ขีดเขียนสิ่งใดลงในหนังสือ
- ไม่พับหน้าต่างๆ ของห อ่านเพิ่มเติม
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ความหมาย “สื่ออิเล็กทรอนิกส์”สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (floppy disk) และสื่อประเภทจานแสง(optical disk) บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เค อ่านเพิ่มเติม
นิราศนรินทร์
ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ)
มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน)
ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า
ซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลที่ 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352)
นิราศเรื่องนี้ผู้แต่งไม่ได้ระบุชื่อเอาไว้
แต่เรี อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)